ศูนย์สมองและระบบประสาท

ศูนย์สมองและระบบประสาท
สถานที่ตั้ง ชั้น 6 โรงพยาบาลวิมุต พหลโยธิน |
เวลาทำการ 8.00 - 17.00 น. |
เบอร์โทรศัพท์ 02-079-0068 |
ศูนย์สมองและระบบประสาท (Neurology Center)
เช็กให้ชัวร์ ปวดหัวแบบไหนต้องไปพบแพทย์
“ปวดหัว” อาการที่เกิดขึ้นได้บ่อย และเกิดจากหลายสาเหตุ ทั้งโรคประจำตัว สภาพอากาศ ความเครียดสะสม เป็นต้น อาการปวดหัวนั้นเป็นสาเหตุของโรคต่างๆ มากมาย ซึ่งอาการที่แสดงออกมาก็ต่างกัน ลองมาเช็คอาการกันดูว่าเรากำลังปวดหัวแบบไหนกันนะ
- อาการปวดแบบแน่นรัดหัว โดยจะเป็นทั้งสองข้างบริเวณศีรษะและต้นคอ ซึ่งเป็นอาการที่พบได้บ่อยที่สุด มักเกิดกับผู้ที่มีความเครียด เหนื่อย ทำงานหนัก
- อาการปวดเแบบไมเกรน ลักษณะการปวดมักอาการรุนแรงปานกลางถึงรุนแรงมาก และนานต่อเนื่องตั้งแต่ 4 ชั่วโมง จนถึง 3 วัน อาการจะแย่ลงได้จากสิ่งกระตุ้นภายนอก ทั้งแสง เสียง หรือกลิ่น ผู้ป่วยบางรายมักมีอาการคลื่นไส้ อาเจียน ร่วมด้วย
- อาการปวดแบบเรื้อรังทุกวัน ผู้ป่วยมักมีอาการปวดมากกว่า 15 วันต่อเดือน อย่างน้อย 3 เดือน ซึ่งอาการอาจปวดหัวเหล่านี้อาจยังมีสาเหตุมาจากโรคอื่นๆ เช่น ภาวะไซนัสอักเสบ โรคหลอดเลือดสมอง รวมไปถึงเนื้องอกในสมอง เป็นต้น
แต่ท่านรู้หรือไม่ ยังมีสัญญาณบางอย่างที่บ่งบอกว่าอาการปวดหัวนั้นอันตราย รอไม่ได้ และต้องรีบไปพบแพทย์ (Red flag signs) เพื่อเข้ารับการรักษา มีดังนี้
- เป็นการปวดศีรษะครั้งแรก แบบที่ไม่เคยเป็นหรือมากขึ้นเรื่อยๆในผู้ที่อายุมากกว่า 50 ปี
- ปวดแบบเฉียบพลันและรุนแรงมากที่สุดในชีวิต (thunderclap headache)
- ปวดจนต้องตื่น หรือ นอนต่อไม่ได้
- มีอาการทางสมองอื่นร่วมด้วย เช่น ชัก หมดสติ แขนขาอ่อนแรง จำเหตุการณ์ไม่ได้
- ปวดมากขึ้นเวลาไอ เบ่ง จาม หรือเปลี่ยนท่าทาง
- มีโรคประจำตัวภูมิคุ้มกันบกพร่องอยู่เดิม เช่น HIV
- มีประวัติบาดเจ็บที่ศีรษะมาก่อนใน 1-2 สัปดาห์แล้วอาการปวดยังไม่ดีขึ้น
หากคุณมีอาการปวดหัวบ่อยๆ อย่างได้นิ่งนอนใจ เพราะอาจเป็นสัญญาณของโรคแทรกซ้อนอื่นๆ ได้ ภายใต้คำแนะนำของแพทย์สมองและระบบประสาท ให้บริการตรวจวินิจฉัย รักษา และฟื้นฟู ความผิดปกติของระบบประสาทและสมอง เช่น ปวดศีรษะ ไมเกรน ชาปลายมือปลายเท้า ชาร่างกายครึ่งซีก โรคหลอดเลือดในสมอง โรคอัมพฤกษ์ อัมพาต เป็นต้น ซึ่ง รพ.วิมุตเรามีเครื่องมือที่ทันสมัยในการวินิจฉัยโรคทางสมอง เพื่อหาสาเหตุความผิดปกติของระบบประสาทและสมองอย่างละเอียด ได้แก่
- เครื่องตรวจ MRI ที่สามารถตรวจวิเคราะห์หาสาเหตุโรคด้วยเครื่องสร้างภาพด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า(MRI) ซึ่งมีความเข้มของสนามแม่เหล็ก 1.5 Tesla อุโมงค์กว้างรองรับได้ทุกสรีระ มีระบบความปลอดภัยเพื่อดูแลผู้รับบริการขณะตรวจ ด้วยเครื่องตรวจที่ทันสมัยทำให้ผู้ป่วยไม่อึดอัดเวลาตรวจ
- เครื่องตรวจ CT Scan อุโมงค์มีขนาดกว้าง ตรวจได้ละเอียด แม่นยำ รวดเร็ว โดยใช้ปริมาณรังสีและสารทึบรังสีน้อยลง มีระบบ Dose Monitoring เป็นการตรวจวัดปริมาณรังสีให้กับผู้ป่วยในการตรวจแต่ละครั้ง และยังสามารถคำนวณปริมาณรังสีเฉพาะบุคคลก่อนที่ผู้ป่วยจะเข้ารับการตรวจเพื่อให้ผู้ป่วยมั่นใจได้ว่าจะได้รับปริมาณรังสีอย่างปลอดภัย
- เครื่องตรวจคลื่นไฟฟ้าสมอง (EEG) นอกจากนี้ยังมีศูนย์กายภาพบำบัดพร้อมทีมนักกายภาพบำบัด ช่วยบำบัดและฟื้นฟูผู้ที่มีปัญหาเกี่ยวกับการเคลื่อนไหวของร่างกายโดยใช้เครื่องมือทางกายภาพบำบัดที่ทันสมัย เพื่อช่วยให้ร่างกายสามารถเคลื่อนไหวได้ดีขึ้น
วีดีโอที่เกี่ยวข้อง - ศูนย์สมองและระบบประสาท รพ.วิมุต
สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม สามารถติดต่อได้ที่
ศูนย์สมองและระบบประสาท รพ.วิมุต ชั้น 6
โทรศัพท์ 02-079-0068 ตั้งแต่เวลา 08.00 - 17.00 น.
ศูนย์เฉพาะทางศูนย์สมองและระบบประสาท
- ศูนย์ปวดศีรษะ
อาการปวดศีรษะ บางครั้งเกิดขึ้นได้บ่อย และเกิดจากหลายสาเหตุ ทั้งโรคประจำตัว สภาพอากาศ ความเครียดสะสม เป็นต้น อาการปวดหัวนั้นเป็นสาเหตุของโรคต่างๆ มากมาย ซึ่งอาการที่แสดงออกมาก็ต่างกัน
ลองมาเช็คอาการกันดูว่าเรากำลังปวดหัวแบบไหนกัน?
- อาการปวดแบบแน่นรัดหัว โดยจะเป็นทั้งสองข้างบริเวณศีรษะและต้นคอ ซึ่งเป็นอาการที่พบได้บ่อยที่สุด มักเกิดกับผู้ที่มีความเครียด เหนื่อย ทำงานหนัก
- อาการปวดเแบบไมเกรน ลักษณะการปวดมักอาการรุนแรงปานกลางถึงรุนแรงมาก และนานต่อเนื่องตั้งแต่ 4 ชั่วโมง จนถึง 3 วัน อาการจะแย่ลงได้จากสิ่งกระตุ้นภายนอก ทั้งแสง เสียง หรือกลิ่น ผู้ป่วยบางรายมักมีอาการคลื่นไส้ อาเจียน ร่วมด้วย
- อาการปวดแบบเรื้อรังทุกวัน ผู้ป่วยมักมีอาการปวดมากกว่า 15 วันต่อเดือน อย่างน้อย 3 เดือน ซึ่งอาการอาจปวดหัวเหล่านี้อาจยังมีสาเหตุมาจากโรคอื่นๆ เช่น ภาวะไซนัสอักเสบ โรคหลอดเลือดสมอง รวมไปถึงเนื้องอกในสมอง เป็นต้น
แต่ท่านรู้หรือไม่ ยังมีสัญญาณบางอย่างที่บ่งบอกว่าอาการปวดหัวนั้นอันตราย รอไม่ได้ และต้องรีบไปพบแพทย์ (Red flag signs) เพื่อเข้ารับการรักษา มีดังนี้
- เป็นการปวดศีรษะครั้งแรก แบบที่ไม่เคยเป็นหรือมากขึ้นเรื่อยๆในผู้ที่อายุมากกว่า 50 ปี
- ปวดแบบเฉียบพลันและรุนแรงมากที่สุดในชีวิต (thunderclap headache)
- ปวดจนต้องตื่น หรือ นอนต่อไม่ได้ มีอาการทางสมองอื่นร่วมด้วย เช่น ชัก หมดสติ แขนขาอ่อนแรง จำเหตุการณ์ไม่ได้
- ปวดมากขึ้นเวลาไอ เบ่ง จาม หรือเปลี่ยนท่าทาง มีโรคประจำตัวภูมิคุ้มกันบกพร่องอยู่เดิม เช่น HIV มีประวัติบาดเจ็บที่ศีรษะมาก่อนใน 1-2 สัปดาห์แล้วอาการปวดยังไม่ดีขึ้น
ศูนย์ปวดศีรษะ บริการตรวจวินิจฉัย รักษา ในกลุ่มปวดศีรษะประเภทต่างๆ โดยใช้เทคโนโลยีและการตรวจวินิจฉัยที่ทันสมัย ช่วยในการการวิเคราะห์สาเหตุได้อย่างตรงจุด เพื่อให้การรักษาที่ถูกต้องและแม่นยำ
- เครื่องตรวจ MRI ที่สามารถตรวจวิเคราะห์หาสาเหตุโรคด้วยเครื่องสร้างภาพด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า(MRI) ซึ่งมีความเข้มของสนามแม่เหล็ก 1.5 Tesla อุโมงค์กว้างรองรับได้ทุกสรีระ มีระบบความปลอดภัยเพื่อดูแลผู้รับบริการขณะตรวจ ด้วยเครื่องตรวจที่ทันสมัยทำให้ผู้ป่วยไม่อึดอัดเวลาตรวจ
- เครื่องตรวจ CT Scan อุโมงค์มีขนาดกว้าง ตรวจได้ละเอียด แม่นยำ รวดเร็ว โดยใช้ปริมาณรังสีและสารทึบรังสีน้อยลง มีระบบ Dose Monitoring เป็นการตรวจวัดปริมาณรังสีให้กับผู้ป่วยในการตรวจแต่ละครั้ง และยังสามารถคำนวณปริมาณรังสีเฉพาะบุคคลก่อนที่ผู้ป่วยจะเข้ารับการตรวจเพื่อให้ผู้ป่วยมั่นใจได้ว่าจะได้รับปริมาณรังสีอย่างปลอดภัย
สามารถติดต่อศูนย์ปวดศีรษะ ได้ที่
ชั้น 6 รพ.วิมุต พหลโยธิน (บริเวณศูนย์สมองและระบบประสาท)
เวลาทำการ: 8.00 - 17.00 น.
โทรศัพท์ 02-079-0068
ทีมแพทย์ผู้ชำนาญการประจำศูนย์

รุ่งแจ้ง

เสกขพันธุ์

ธนชาญวิศิษฐ์

ชีวะอิสระกุล

วงศ์ศิริสุวรรณ
ติดต่อสอบถามเกี่ยวกับศูนย์การรักษา
แนะนำแพ็กเกจที่เกี่ยวข้อง
เรื่องสุขภาพน่ารู้ที่เกี่ยวข้อง

สมองเสื่อม โรคทางสมองที่รู้ทันสามารถป้องกันและชะลออาการได้
เพราะการหลงลืมไม่ใช่เรื่องปกติ นี่อาจเป็นอาการของ ‘ภาวะสมองเสื่อม’ ได้ มาทำความรู้จักอาการ สาเหตุ และการรักษาภาวะสมองเสื่อมจากคุณหมอผู้เชี่ยวชาญด้านสมองและระบบประสาทได้ที่นี่

โรคลมชัก โรคอันตรายที่อาจไม่ได้จบแค่การชักเกร็ง !
พาคุณมารู้ให้ลึกเรื่องโรคลมชัก ทั้งสาเหตุ อาการเป็นอย่างไร แนวทางการรักษาเป็นแบบไหน พร้อมวิธีปฐมพยาบาลอย่างถูกต้องหากพบเจอคนชักเกร็ง หรือเป็นโรคลมชักได้ที่นี่

วิธีแก้ปวดหัวไมเกรน บรรเทาอาการบื้องต้นด้วยวิธีธรรมชาติ
รู้หรือไม่ ปวดหัวไมเกรนมีวิธีแก้อาการเบื้องต้นด้วยวิธีธรรมชาติ ที่สามารถทำได้ด้วยตัวเอง และยังมีอาหารที่ช่วยบรรเทาอาการปวด ซึ่งจะมีวิธีอะไรบ้าง และปวดหัวไมเกรนกินอะไรหายไปดูกัน!

เส้นเลือดสมองแตก ภาวะอันตราย ที่ใกล้ตัวกว่าที่คิด
เส้นเลือดสมองแตกเกิดจากอะไร? ไขคำตอบภัยร้ายใกล้ตัวที่สามารถเกิดขึ้นได้กับทุกวัย พร้อมรู้ทันสัญญาณอันตรายและอาการเสี่ยง เพื่อป้องกันได้อย่างทันท่วงที

สมองเสื่อม โรคทางสมองที่รู้ทันสามารถป้องกันและชะลออาการได้
เพราะการหลงลืมไม่ใช่เรื่องปกติ นี่อาจเป็นอาการของ ‘ภาวะสมองเสื่อม’ ได้ มาทำความรู้จักอาการ สาเหตุ และการรักษาภาวะสมองเสื่อมจากคุณหมอผู้เชี่ยวชาญด้านสมองและระบบประสาทได้ที่นี่

โรคลมชัก โรคอันตรายที่อาจไม่ได้จบแค่การชักเกร็ง !
พาคุณมารู้ให้ลึกเรื่องโรคลมชัก ทั้งสาเหตุ อาการเป็นอย่างไร แนวทางการรักษาเป็นแบบไหน พร้อมวิธีปฐมพยาบาลอย่างถูกต้องหากพบเจอคนชักเกร็ง หรือเป็นโรคลมชักได้ที่นี่

วิธีแก้ปวดหัวไมเกรน บรรเทาอาการบื้องต้นด้วยวิธีธรรมชาติ
รู้หรือไม่ ปวดหัวไมเกรนมีวิธีแก้อาการเบื้องต้นด้วยวิธีธรรมชาติ ที่สามารถทำได้ด้วยตัวเอง และยังมีอาหารที่ช่วยบรรเทาอาการปวด ซึ่งจะมีวิธีอะไรบ้าง และปวดหัวไมเกรนกินอะไรหายไปดูกัน!

เส้นเลือดสมองแตก ภาวะอันตราย ที่ใกล้ตัวกว่าที่คิด
เส้นเลือดสมองแตกเกิดจากอะไร? ไขคำตอบภัยร้ายใกล้ตัวที่สามารถเกิดขึ้นได้กับทุกวัย พร้อมรู้ทันสัญญาณอันตรายและอาการเสี่ยง เพื่อป้องกันได้อย่างทันท่วงที

วิธีแก้ปวดหัวไมเกรน บรรเทาอาการบื้องต้นด้วยวิธีธรรมชาติ
รู้หรือไม่ ปวดหัวไมเกรนมีวิธีแก้อาการเบื้องต้นด้วยวิธีธรรมชาติ ที่สามารถทำได้ด้วยตัวเอง และยังมีอาหารที่ช่วยบรรเทาอาการปวด ซึ่งจะมีวิธีอะไรบ้าง และปวดหัวไมเกรนกินอะไรหายไปดูกัน!

เส้นเลือดสมองแตก ภาวะอันตราย ที่ใกล้ตัวกว่าที่คิด
เส้นเลือดสมองแตกเกิดจากอะไร? ไขคำตอบภัยร้ายใกล้ตัวที่สามารถเกิดขึ้นได้กับทุกวัย พร้อมรู้ทันสัญญาณอันตรายและอาการเสี่ยง เพื่อป้องกันได้อย่างทันท่วงที

สมองเสื่อม โรคทางสมองที่รู้ทันสามารถป้องกันและชะลออาการได้
เพราะการหลงลืมไม่ใช่เรื่องปกติ นี่อาจเป็นอาการของ ‘ภาวะสมองเสื่อม’ ได้ มาทำความรู้จักอาการ สาเหตุ และการรักษาภาวะสมองเสื่อมจากคุณหมอผู้เชี่ยวชาญด้านสมองและระบบประสาทได้ที่นี่

โรคลมชัก โรคอันตรายที่อาจไม่ได้จบแค่การชักเกร็ง !
พาคุณมารู้ให้ลึกเรื่องโรคลมชัก ทั้งสาเหตุ อาการเป็นอย่างไร แนวทางการรักษาเป็นแบบไหน พร้อมวิธีปฐมพยาบาลอย่างถูกต้องหากพบเจอคนชักเกร็ง หรือเป็นโรคลมชักได้ที่นี่